-
Notifications
You must be signed in to change notification settings - Fork 0
/
Copy pathtest1.tex
818 lines (584 loc) · 71.8 KB
/
test1.tex
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
11
12
13
14
15
16
17
18
19
20
21
22
23
24
25
26
27
28
29
30
31
32
33
34
35
36
37
38
39
40
41
42
43
44
45
46
47
48
49
50
51
52
53
54
55
56
57
58
59
60
61
62
63
64
65
66
67
68
69
70
71
72
73
74
75
76
77
78
79
80
81
82
83
84
85
86
87
88
89
90
91
92
93
94
95
96
97
98
99
100
101
102
103
104
105
106
107
108
109
110
111
112
113
114
115
116
117
118
119
120
121
122
123
124
125
126
127
128
129
130
131
132
133
134
135
136
137
138
139
140
141
142
143
144
145
146
147
148
149
150
151
152
153
154
155
156
157
158
159
160
161
162
163
164
165
166
167
168
169
170
171
172
173
174
175
176
177
178
179
180
181
182
183
184
185
186
187
188
189
190
191
192
193
194
195
196
197
198
199
200
201
202
203
204
205
206
207
208
209
210
211
212
213
214
215
216
217
218
219
220
221
222
223
224
225
226
227
228
229
230
231
232
233
234
235
236
237
238
239
240
241
242
243
244
245
246
247
248
249
250
251
252
253
254
255
256
257
258
259
260
261
262
263
264
265
266
267
268
269
270
271
272
273
274
275
276
277
278
279
280
281
282
283
284
285
286
287
288
289
290
291
292
293
294
295
296
297
298
299
300
301
302
303
304
305
306
307
308
309
310
311
312
313
314
315
316
317
318
319
320
321
322
323
324
325
326
327
328
329
330
331
332
333
334
335
336
337
338
339
340
341
342
343
344
345
346
347
348
349
350
351
352
353
354
355
356
357
358
359
360
361
362
363
364
365
366
367
368
369
370
371
372
373
374
375
376
377
378
379
380
381
382
383
384
385
386
387
388
389
390
391
392
393
394
395
396
397
398
399
400
401
402
403
404
405
406
407
408
409
410
411
412
413
414
415
416
417
418
419
420
421
422
423
424
425
426
427
428
429
430
431
432
433
434
435
436
437
438
439
440
441
442
443
444
445
446
447
448
449
450
451
452
453
454
455
456
457
458
459
460
461
462
463
464
465
466
467
468
469
470
471
472
473
474
475
476
477
478
479
480
481
482
483
484
485
486
487
488
489
490
491
492
493
494
495
496
497
498
499
500
501
502
503
504
505
506
507
508
509
510
511
512
513
514
515
516
517
518
519
520
521
522
523
524
525
526
527
528
529
530
531
532
533
534
535
536
537
538
539
540
541
542
543
544
545
546
547
548
549
550
551
552
553
554
555
556
557
558
559
560
561
562
563
564
565
566
567
568
569
570
571
572
573
574
575
576
577
578
579
580
581
582
583
584
585
586
587
588
589
590
591
592
593
594
595
596
597
598
599
600
601
602
603
604
605
606
607
608
609
610
611
612
613
614
615
616
617
618
619
620
621
622
623
624
625
626
627
628
629
630
631
632
633
634
635
636
637
638
639
640
641
642
643
644
645
646
647
648
649
650
651
652
653
654
655
656
657
658
659
660
661
662
663
664
665
666
667
668
669
670
671
672
673
674
675
676
677
678
679
680
681
682
683
684
685
686
687
688
689
690
691
692
693
694
695
696
697
698
699
700
701
702
703
704
705
706
707
708
709
710
711
712
713
714
715
716
717
718
719
720
721
722
723
724
725
726
727
728
729
730
731
732
733
734
735
736
737
738
739
740
741
742
743
744
745
746
747
748
749
750
751
752
753
754
755
756
757
758
759
760
761
762
763
764
765
766
767
768
769
770
771
772
773
774
775
776
777
778
779
780
781
782
783
784
785
786
787
788
789
790
791
792
793
794
795
796
797
798
799
800
801
802
803
804
805
806
807
808
809
810
811
812
813
814
815
816
817
\documentclass[a4paper, 11pt, oneside]{book} % Setting the type of document.
\usepackage{amssymb,amsmath,amsthm} % Enhancing maths environments.
\usepackage{indentfirst} % Indent the first paragraph of each section.
\usepackage[no-math]{fontspec} % Load the OpenFont to the LaTeX, without modifying maths environments.
\defaultfontfeatures{Mapping=tex-text}
% In LaTeX, we use `` and '' as quotation mark, use -, --, --- as different lines. The compiler will automatically process that. These marks are called 'tex-text.'
\usepackage{xltxtra}
% xltxtra: Provide a number of small features that are useful for XeLaTeX.
% polyglossia: Modern multilingual typesetting with XeLaTeX.
% \usepackage{titlesec} % Select alternative section titles format.
% \titleformat{\chapter}{\LARGE\bf}{\thechapter}{1em}{}
% \titlespacing*{\chapter}{0pt}{3.5ex plus 1ex minus .2ex}{2.3ex plus .2ex}
\parskip=0pt plus 1pt % Setting paragraph skip distance.
% Setting "no separation" between items in itemize/enumerate.
\usepackage{enumitem}
\setlist{nosep}
% Import footnote package.
\usepackage[stable]{footmisc}
% Set the distance between text and math environments.
\makeatletter
\g@addto@macro\normalsize{%
\setlength\abovedisplayskip{10pt}
\setlength\belowdisplayskip{10pt}
\setlength\abovedisplayshortskip{10pt}
\setlength\belowdisplayshortskip{10pt}
}
\makeatother
% --------------- LANGUAGE SETTING ---------------
\XeTeXlinebreaklocale "th_TH"
\XeTeXlinebreakpenalty = 100
\XeTeXlinebreakskip = 0pt plus 1pt
\linespread{1.5}
% For Thai, I recommend to scale the size to the uppercase size of latin alphabet
\setmainfont[Scale=MatchUppercase,Mapping=tex-text]{TH Sarabun New}
% Because latin font in Sarabun is Sans Serif, we prefer to use Serif font
\newfontfamily{\thaifont}[Scale=MatchUppercase,Mapping=tex-text]{TH Sarabun New}
% --------------- LANGUAGE SETTING ---------------
\usepackage[top=2.54cm, bottom=2.54cm, left=2.38cm, right=1.9cm]{geometry} % Set the margins of all pages.
%--------Start of Code Snipplet Setting------------%
\usepackage{listings}
\usepackage{xcolor}
\definecolor{codegreen}{rgb}{0,0.6,0}
\definecolor{codegray}{rgb}{0.5,0.5,0.5}
\definecolor{codepurple}{rgb}{0.58,0,0.82}
\definecolor{backcolour}{rgb}{0.95,0.95,0.92}
\lstdefinestyle{mystyle}{
backgroundcolor=\color{backcolour},
commentstyle=\color{codegreen},
keywordstyle=\color{magenta},
numberstyle=\tiny\color{codegray},
stringstyle=\color{codepurple},
basicstyle=\ttfamily\footnotesize,
breakatwhitespace=false,
breaklines=true,
captionpos=b,
keepspaces=true,
numbers=left,
numbersep=5pt,
showspaces=false,
showstringspaces=false,
showtabs=false,
tabsize=1,
numberstyle=\ttfamily\tiny,
breakindent = 0pt
}
\lstset{style=mystyle}
%--------End of Code Snipplet Setting------------%
\usepackage{textgreek} % Greek letters in text environment.
\usepackage{gensymb} % Generic symbols for both text and math environments.
\usepackage{hyperref} % Hyperreference in LaTeX.
\usepackage{siunitx} % SI units in LaTeX.
\sisetup{detect-all}
\usepackage{cite} % Using BibTeX file for declaring references.
\usepackage{setspace} % set singlespace around code listings.
% Change chapter, figure and contents headers to Thai.
\renewcommand{\chaptername}{บทที่}
\renewcommand{\figurename}{รูปที่}
\renewcommand{\contentsname}{สารบัญ}
\renewcommand\bibname{เอกสารอ้างอิง}
% Path to graphics.
\graphicspath{ {./images/} }
\begin{document}
\title{รายงานการฝึกงาน}
\author{นาย ณัฐชนน จริยานุรัตน์}
\frontmatter % No page number here.
%----------------------------------------------------------------
\chapter*{คำนำ}
รายงานนี้นำเสนอการออกแบบวงจร Op Amp แบบ Two-Stage Amplifier โดยให้ใช้โปรแกรม LTSpice ในการจำลองและทดสอบวงจรไฟฟ้า และใช้โมเดล CMOS แบบ BSIM3 เทคโนโลยี 0.18 nm ในการออกแบบวงจรดังกล่าว
\begin{flushright}
ณัฐชนน จริยานุรัตน์
\end{flushright}
\tableofcontents
\mainmatter % Page number come back here.
%----------------------------------------------------------------
\chapter{รายละเอียดงาน}
\section{การออกแบบวงจร Op Amp แบบ Two-Stage Amplifier}
Op Amp เป็นส่วนประกอบที่ใช้บ่อยในวงจรอิเล็กทรอนิกส์ต่าง ๆ สำหรับ Op Amp ที่สามารถออกแบบได้ง่ายและเป็นพื้นฐานมากที่สุด คือวงจรแบบ Two-Stage Amplifier
\subsection{ทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง}
\subsubsection{โครงสร้างทั่วไปของวงจร Two-Stage Amplifier}
\begin{figure}[h]
\centering
\includegraphics[width=10cm]{opamp-twostage}
\caption{โครงสร้างทั่วไปของวงจร two-stage CMOS op-amp (จาก Sedra and Smith, Microelectronic Circuits, 7E \cite{Sedra15})}
\label{opamp-twostage}
\end{figure}
จากรูปที่~\ref{opamp-twostage} จะเห็นได้ว่า วงจร Two-Stage Amplifier จะประกอบไปด้วยสามส่วนหลัก ได้แก่
\begin{itemize}
\item วงจร Differential Amplifier ซึ่งประกอบไปด้วยทรานซิสเตอร์คือ Q1, Q2, Q3 และ Q4 ซึ่งทำหน้าที่ขยายสัญญาณในส่วนแรก โดยสัญญาณขาเข้าจะเข้ามาทางสัญลักษณ์ + และ - ในรูป
\item หลังจากนั้น สัญญาณขาออกจากวงจร Differential Amplifier จะไปเข้าสู่วงจร Common-Source Amplifier ซึ่งประกอบไปด้วยทรานซิสเตอร์ Q6 ซึ่งทำหน้าที่ขยายสัญญาณในขั้นสุดท้าย
\item วงจร Current Mirror ประกอบไปด้วยทรานซิสเตอร์ Q5, Q7 และ Q8 ซึ่งสร้างกระแสอ้างอิงให้กับทั้งวงจร Differential Amplifier และวงจร Common-Source Amplifier
\end{itemize}
\subsubsection{เงื่อนไขของการไบแอสวงจร}
เนื่องจาก drain-source voltage ของทรานซิสเตอร์ Q3, Q4 และ Q6 จะต้องเท่ากัน ดังนั้นกระแสที่ผ่านทานซิสเตอร์ทั้งสามตัวจะต้องเท่ากันด้วย เนื่องจากกระแสที่ผ่านทรานซิสเตอร์ Q3, Q4 จะเป็นครึ่งหนึ่งของกระแสที่ผ่านทรานซิสเตอร์ Q5 ดังนั้น อัตราส่วน W/L ของทรานซิสเตอร์ในรูปที่~\ref{opamp-twostage} จึงต้องมีค่าเป็น
\begin{equation}
\frac{(W/L)_6}{(W/L)_4} = 2\frac{(W/L)_7}{(W/L)_5}
\label{offset-eq}
\end{equation}
\subsubsection{ช่วงของสัญญาณขาเข้า (Input Common-Mode Range) และสัญญาณขาออก (Output Swing)}
สำหรับช่วงของสัญญาณขาเข้า (Input Common-Mode Range) และสัญญาณขาออก (Output Swing) ของวงจร two-stage CMOS op-amp เป็นดังนี้
ช่วงของสัญญาณขาเข้า (Input Common-Mode Range):
\begin{subequations}
\label{input-range}
\begin{align}
\textrm{lower limit} &= -V_{SS} + V_{OV3} + V_{tn} - |V_{tp}| \\
\textrm{upper limit} &= +V_{DD} - |V_{tp}| - |V_{OV1}| - |V_{OV5}|
\end{align}
\end{subequations}
ช่วงของสัญญาณขาออก (Output Swing):
\begin{subequations}
\label{output-swing}
\begin{align}
\textrm{lower limit} &= -V_{SS} + V_{OV6} \\
\textrm{upper limit} &= +V_{DD} - |V_{OV7}|
\end{align}
\end{subequations}
เพื่อทำให้ช่วงของสัญญาณขาเข้าและสัญญาณขาออกกว้างขึ้น การออกแบบวงจรควรพยายามที่จะทำให้กระแสไบแอสมีค่าต่ำ เพื่อทำให้ overdrive voltage ของทรานซิสเตอร์มีค่าต่ำลง
จากสมการ สังเกตว่าขอบบนของ Input Common-Mode Range นั้นถูกทำให้ลดลงอย่างมากจากขนาดของ $|V_{tp}|$ ที่คงที่
\subsubsection{โมเดลสัญญาณขนาดเล็ก (Small-Signal Model) ของวงจร}
\begin{figure}[h]
\centering
\includegraphics[width=\linewidth]{opamp-twostage-smallsignal}
\caption{โมเดลสัญญาณขนาดเล็ก (Small-Signal Model) ของวงจรในรูปที่~\ref{opamp-twostage} (จาก Sedra and Smith, Microelectronic Circuits, 7E \cite{Sedra15})}
\label{opamp-twostage-smallsignal}
\end{figure}
จากการคำนวณต่อจากรูปที่~\ref{opamp-twostage} จะได้ว่าโมเดลสัญญาณขนาดเล็กในรูปที่~\ref{opamp-twostage-smallsignal} จะมีค่าของตัวแปรขององค์ประกอบต่าง ๆ ดังนี้ คือ
\begin{subequations}
\begin{align}
G_{m1} &= g_{m1} \\
G_{m2} &= g_{m6} \\
R_1 &= (r_{o2}||r_{o4}) \\
R_2 &= (r_{o6}||r_{o7})
\end{align}
\end{subequations}
\subsubsection{อัตราขยายของวงจร}
จากโมเดลสัญญาณขนาดเล็กในรูปที่~\ref{opamp-twostage-smallsignal} สามารถคำนวณหาอัตราขยายของ stage แรก คือ Differential Amplifier และ stage ที่สอง คือ Common-Source Amplifier ได้ดังนี้
อัตราขยายของ stage แรก:
\begin{equation}
A_1 = -g_{m1}(r_{o2}||r_{o4}) = -\frac{2}{|V_{OV1}|}/( \frac{1}{|V_{A2}|} + \frac{1}{|V_{A4}|} )
\label{gain-1}
\end{equation}
อัตราขยายของ stage ที่สอง
\begin{equation}
A_2 = -g_{m6}(r_{o6}||r_{o7}) = -\frac{2}{|V_{OV6}|}/( \frac{1}{|V_{A6}|} + \frac{1}{|V_{A7}|} )
\label{gain-2}
\end{equation}
หากต้องการอัตราขยายของวงจรให้มากขึ้น สามารถทำได้โดยการลดกระแสไบแอสของทรานซิสเตอร์ลง จะทำให้ overdrive voltage ของทรานซิสเตอร์มีค่าลดลงตาม และทำให้อัตราขยายมากขึ้น (แต่จะแลกมาด้วยความต้านทานของสัญญาณรบกวนที่แย่ลง) ในขณะเดียวกัน การเพิ่ม Early voltage ของทรานซิสเตอร์โดยการเพิ่มความยาว (L) ของทรานซิสเตอร์ก็สามารถทำให้อัตราขยายของวงจรเพิ่มขึ้นเช่นกัน (แต่จะแลกมาด้วยขนาดวงจรที่เพิ่มขึ้น และวงจรจะใช้กระแสมากขึ้น ทำให้พลังงานที่ต้องใช้ในวงจรมากขึ้น)
\subsubsection{การตอบสนองเชิงความถี่ของวงจร}
จากรูปที่~\ref{opamp-twostage-smallsignal} จะได้ว่า $C_1$ คือความจุไฟฟ้าทั้งหมดตั้งแต่ขาออกของวงจรขยาย stage แรก จนถึง ground ของวงจร ดังนั้นจึงได้ว่า
\begin{equation}
C_1 = C_{gd2} + C_{db2} + C_{gd4} + C_{db4} + C_{gs6}
\label{C-1}
\end{equation}
เช่นเดียวกัน จะได้ว่า $C_1$ คือความจุไฟฟ้าทั้งหมดตั้งแต่ขาออกของวงจรขยาย stage ที่สอง จนถึง ground ของวงจร ดังนั้นจึงได้ว่า
\begin{equation}
C_2 = C_{db6} + C_{db7} + C_{gd7} + C_{L}
\label{C-2}
\end{equation}
โดยตัวแปรของความจุไฟฟ้าต่าง ๆ ในสมการ~\ref{C-1} และ~\ref{C-2} มีความหมายดังนี้ คือ
$C_L$ คือความจุไฟฟ้าของโหลดที่ต่อกับวงจรขาออก
$C_{gd}$ คือความจุไฟฟ้าของทรานซิสเตอร์ระหว่างขา gate และขา drain
$C_{gs}$ คือความจุไฟฟ้าของทรานซิสเตอร์ระหว่างขา gate และขา source
$C_{sb}$ คือความจุไฟฟ้าของทรานซิสเตอร์ระหว่างขา source และขา body
$C_{db}$ คือความจุไฟฟ้าของทรานซิสเตอร์ระหว่างขา drain และขา body
เลขหลัง subscript คือค่าของทรานซิสเตอร์ตามหมายเลขที่ระบุไว้ในรูปที่~\ref{opamp-twostage}
ตัวแปรความจุไฟฟ้าต่าง ๆ มีค่าเป็นดังนี้
\begin{subequations}
\begin{align}
C_{gd} &= WL_{ov}C_{ox} \\
C_{gs} &= \frac{2}{3}WLC_{ox} + WL_{ov}C_{ox} \\
C_{sb} &= C_{sb0}/\sqrt{1+\frac{|V_{SB}|}{V_0}} \\
C_{db} &= C_{db0}/\sqrt{1+\frac{|V_{DB}|}{V_0}}
\end{align}
\end{subequations}
โดย $C_{ox}$ คือความจุไฟฟ้าที่เกิดจากชั้นออกไซต์, $W$ และ $L$ คือความกว้างและความยาวของทรานซิสเตอร์ ตามลำดับ, $V_0$ คือ junction built-in voltage ซึ่งปกติมีค่าอยู่ระหว่าง 0.6 - 0.8 V, $L_{ov} \approx 0.05L - 0.1L$ คือความยาวที่ซ้อนกันระหว่าง gate และ source/drain substrate, $C_{sb0}$ และ $C_{db0}$ คือค่าของ $C_{sb}$ และ $C_{db}$ เมื่อ body-source/drain bias มีค่าเป็น 0 V ตามลำดับ
อ้างอิงจาก Sedra and Smith \cite{Sedra15} การวิเคราะห์วงจรแบบ node analysis ในรูปที่~\ref{opamp-twostage-smallsignal} จะทำให้ได้ transfer function $V_{o}/V_{id}$ ที่มีขั้ว (pole) ทั้งหมด 2 ตำแหน่ง และมีศูนย์ (zero) ที่อยู่บน right complex plane ทั้งหมดหนึ่งตำแหน่ง ซึ่งมีค่าดังนี้
\begin{subequations}
\begin{align}
\omega_{Z} &= \frac{G_{m2}}{C_{C}} \\
\omega_{P1} &= \frac{1}{R_1[C_1+C_C(1+G_{m2}R_2)] + R_2(C_2+C_C)} \\
\omega_{P2} &= \frac{G_{m2}C_C}{C_1C_2 + C_C(C_1+C_2)}
\end{align}
\end{subequations}
โดยที่ขั้ว $\omega_{P1}$ จะมีค่าต่ำลงเนื่องจาก $C_C$ ดังนั้น $C_C$ จะช่วยเพิ่ม phase margin ของผลตอบสนองเชิงความถี่โดยการเลื่อน crossover frequency ให้ต่ำลงมาอยู่ที่ช่วงที่มี phase response สูง
การประมาณค่าต่าง ๆ ในสมการที่ผ่านมาจะทำให้ได้ค่าที่จัดการได้ง่ายขึ้น ดังนี้
\begin{subequations}
\label{pole-zero-approx}
\begin{align}
\omega_{Z} &= \frac{G_{m2}}{C_{C}} \\
\omega_{P1} &= \frac{1}{R_1C_CG_{m2}R_2} \\
\omega_{P2} &= \frac{G_{m2}}{C_2}
\end{align}
\end{subequations}
ปัญหาของการลดลงของ phase response เนื่องจากการมีอยู่ของ zero ซึ่งอยู่บน right complex plane สามารถแก้ไขได้โดยการต่อความต้านทาน $R$ แบบอนุกรมกับตัวเก็บประจุ $C_C$ ซึ่งจะทำให้ $\omega_{Z}$ มีค่าที่เปลี่ยนไปเป็น
\begin{equation}
\omega_{Z} = \frac{1}{C_{C}(\frac{1}{G_{m2}} - R)}
\label{new-zero}
\end{equation}
หากทำให้ค่า $R$ มีค่าสูงขึ้นมากพอ จะทำให้ $\omega_{Z}$ เปลี่ยนไปอยู่ในฝั่งของ left complex plane แทน และทำให้ผลตอบสนองของ phase response เปลี่ยนเป็นการมีค่ามากขึ้นที่ตำแหน่งศูนย์ดังกล่าว
ไม่ว่าอย่างไรก็ตาม การต่อ $R$ แบบอนุกรมกับตัวเก็บประจุ $C_C$ ทำให้เกิด pole ขึ้นมาใหม่หนึ่งตำแหน่งในช่วงความถี่สูง ซึ่ง pole ใหม่นี้จะมีค่าเป็น
\begin{equation}
\omega_{P3} = \frac{1}{RC_{1}}
\label{new-pole}
\end{equation}
\begin{figure}[h]
\centering
\includegraphics[width=\linewidth]{openloopgain_freqresponse}
\caption{ผลตอบสนองเชิงความถี่ของ two-stage opamp ในกรณีที่ศูนย์ของผลตอบสนองเลื่อนมาอยู่ที่ left complex plane แล้ว โดยสังเกตเห็นว่าศูนย์ ($\omega_{Z}$) ดังกล่าวจะทำให้ phase response ของวงจรเพิ่มขึ้น ก่อนที่จะลดลงอย่างมากเมื่อผ่านความถี่ของขั้วตำแหน่งที่สอง ($\omega_{P2}$)}
\label{openloopgain_freqresponse}
\end{figure}
\subsubsection{Slew Rate}
หากสัญญาณขาเข้าของวงจร op amp เปลี่ยนไปอย่างกะทันหัน สัญญาณขาออกของวงจร op amp จะไม่เปลี่ยนแปลงทันทีทันใด แต่จะค่อย ๆ เปลี่ยนจนกระทั่งถึงจุดคงตัว (steady-state) ความเร็วในช่วงระยะเวลาของการเปลี่ยนแปลงนั้นเรียกว่า Slew Rate
\begin{figure}[h]
\centering
\includegraphics[width= 10cm]{slew_rate}
\caption{แสดงนิยามโดยคร่าวของ Slew Rate (จาก Sedra and Smith, Microelectronic Circuits, 7E \cite{Sedra15})}
\label{slew_rate}
\end{figure}
สำหรับการแปลงวงจร two-stage amplifier ให้อยู่ในรูปอย่างง่ายพอที่จะสามารถคำนวณ slew rate ได้โดยคร่าว ได้แสดงในรูปที่~\ref{opamp_as_integrator} ซึ่งเป็นการประมาณให้ stage ที่สองอยู่ในรูปของ integrator
\begin{figure}[h]
\centering
\includegraphics[width = 10cm]{opamp_as_integrator}
\caption{2-stage op amp ที่ทำให้อยู่ในรูปอย่างง่าย}
\label{opamp_as_integrator}
\end{figure}
เมื่อสัญญาณขาเข้าด้านหนึ่งของวงจรเปลี่ยนแปลงไป อีกด้านของ differential amplifier จะถูกปิดลง จึงไม่มีกระแสที่ไหลผ่านทรานซิสเตอร์ $Q_2$ หลังจากนั้น current mirror จะดึงกระแสจาก $C_C$ เข้ามาที่ทรานซิสเตอร์ $Q_2$ แทน จากวงจร integrator อย่างง่ายในรูปที่~\ref{opamp_as_integrator} จึงสามารถคำนวณได้ว่า
\begin{equation}
v_o(t) = (I/C_C)t
\end{equation}
โดยที่ $I$ คือกระแสจากทรานซิสเตอร์ $Q_4$ ดังนั้น slew rate หรือ SR จะมีค่าเป็น
\begin{equation}
SR = I/C_C
\label{slew-eq}
\end{equation}
จากสมการดังกล่าวจึงได้ว่า ค่าของ $C_C$ ไม่ควรมีค่ามาก เนื่องจากจะทำให้ slew rate ลดลง
\subsubsection{สัญญาณรบกวนอ้างอิงขาเข้า (Input-Refer Noise) ของ MOSFET}
\begin{figure}[h]
\centering
\includegraphics[width = 10cm]{MOS_noise_inputrefer}
\caption{โมเดลสัญญาณขนาดเล็กของ MOSFET ที่พิจารณาถึงสัญญาณรบกวนอ้างอิงขาเข้าแบบแรงดัน (voltage) และกระแส (current) ร่วมด้วย (จาก Gray et. al., Analysis and Design of Analog Integrated Circuits, 5E \cite{Grey09})}
\label{MOS_noise_inputrefer}
\end{figure}
จากรูปที่~\ref{MOS_noise_inputrefer}, Gray et. al. \cite{Grey09} ได้คำนวณแล้วว่าสัญญาณรบกวนอ้างอิงขาเข้าเชิงแรงดัน (voltage) จะมีค่าเป็นดังนี้
\begin{equation}
\frac{\bar{v_i^2}}{\Delta f} = \frac{8kT}{3g_m} + \frac{K_f}{WLC_{ox}f} \label{Eq_MOS_noise}
\end{equation}
โดยที่ $k$ คือค่าคงที่โบลทซ์มานน์ (Boltzmann constant), และ $K_f$ ค่าคงที่ของ flicker noise ซึ่งโดยทั่วไปจะมีค่าประมาณ \num{3e-12} \si{V^2.\pico F}
ในสมการที่~\ref{Eq_MOS_noise} พจน์แรกคือ thermal noise และพจน์ที่สองคือ flicker noise (หรือ 1/f noise) โดยสัญญาณรบกวนในสมการดังกล่าวถูกเขียนให้อยู่ในรูปของค่า root-mean square ต่อช่วงความถี่
เนื่องจากใน amplifier แบบ MOSFET ในอุดมคติจะมีค่าความต้านทานขาเข้าเป็นอนันต์ ดังนั้นจึงอาจไม่จำเป็นที่จะคำนึงถึงสัญญาณรบกวนอ้างอิงขาเข้าเชิงกระแส (current) ก็ได้
\subsubsection{สัญญาณรบกวนอ้างอิงขาเข้า (Input-Refer Noise) ของ Differential Amplifier}
\begin{figure}[h]
\centering
\includegraphics[width = 6.5cm]{DiffAmp_noise_1}
\caption{สัญญาณรบกวนของทรานซิสเตอร์แต่ละตัวใน Differential Amplifier \cite{Grey09}}
\label{DiffAmp_noise_1}
\end{figure}
\begin{figure}[h]
\centering
\includegraphics[width = 6.5cm]{DiffAmp_noise_2}
\caption{วงจรสมมูลของสัญญาณรบกวนใน Differential Amplifier โดยรวมให้อยู่ในแหล่งจ่ายเดียว \cite{Grey09}}
\label{DiffAmp_noise_2}
\end{figure}
จากรูปที่~\ref{DiffAmp_noise_1} สัญญาณรบกวนจากทรานซิสเตอร์ตัวต่าง ๆ ใน Differential Amplifier สามารถนำมารวมกันให้อยู่ในแหล่งจากแรงดันแหล่งเดียวได้ดังในรูปที่~\ref{DiffAmp_noise_2} โดยมีสมการดังนี้ คือ \cite{Grey09}
\begin{equation}
\bar{v_{eqT}^2} = \bar{v_{eq1}^2} + \bar{v_{eq2}^2} + (g_{m3}/g_{m1})^2 (\bar{v_{eq3}^2} + \bar{v_{eq4}^2}) \label{Eq_DiffAmp_Lumped}
\end{equation}
จากสัญญาณรบกวนอ้างอิงขาเข้าของ MOSFET (สมการที่~\ref{Eq_MOS_noise}) นำสัญญาณรบกวนแบบ flicker noise ไปแทนในสมการที่~\ref{Eq_DiffAmp_Lumped} เพื่อให้ได้สัญญาณรบกวน flicker noise สมมูลแบบแหล่งจ่ายแรงดันแหล่งเดียว คือ
\begin{equation}
\bar{v_{1/f}^2} = \frac{2K_p}{fW_1L_1C_{ox}}(1 + \frac{K_n\mu_nL_1^2}{K_p\mu_pL_3^2})\Delta f
\label{Eq_DiffAmp_flicker}
\end{equation}
โดยที่ $K_p$ และ $K_n$ คือ flicker noise constant ของ PMOS และ NMOS ตามลำดับ
เช่นเดียวกันคือ จากสัญญาณรบกวนอ้างอิงขาเข้าของ MOSFET (สมการที่~\ref{Eq_MOS_noise}) นำสัญญาณรบกวนแบบ thermal noise ไปแทนในสมการที่~\ref{Eq_DiffAmp_Lumped} เพื่อให้ได้สัญญาณรบกวน thermal noise สมมูลแบบแหล่งจ่ายแรงดันแหล่งเดียว คือ
\begin{equation}
\bar{v_{1/f}^2} = 4kT\frac{4}{3\sqrt{2\mu_pC_{ox}(W/L)_1I_D}}(1+\sqrt
{\frac{\mu_n(W/L)_3}{\mu_p(W/L)_1}})\Delta f
\label{Eq_DiffAmp_thermal}
\end{equation}
จากสมการที่~\ref{Eq_DiffAmp_flicker} การเพิ่ม W และ L ของทรานซิสเตอร์ $Q_1$ และ $Q_2$ จะทำให้สัญญาณรบกวนลดลงได้ แต่จะทำให้ความจุไฟฟ้าแบบต่าง ๆ ใน MOS เพิ่มขึ้น และทำให้ผลตอบสนองเชิงความถี่ของวงจร op amp นี้มี crossover frequency ที่ต่ำลง
ในขณะที่จากสมการที่~\ref{Eq_DiffAmp_thermal} การเพิ่มอัตราส่วน $W/L$ ของทรานซิสเตอร์ $Q_1$ และ $Q_2$ สามารถลดขนาดของสัญญาณรบกวนในวงจรได้เช่นกัน นอกจากนั้นการเพิ่มกระแสไบแอสในทรานซิสเตอร์ก็สามารถทำให้ลดสัญญาณรบกวนได้ แต่จะทำให้ช่วงสัญญาณขาเข้า (input common-mode range) และช่วงสัญญาณขาออก (output swing) มีค่าต่ำลงเนื่องจาก overdrive voltage ของทรานซิสเตอร์เพิ่มขึ้น นอกจากนั้นยังทำให้วงจรใช้พลังงานมากขึ้นด้วย
การต่อ body ของทรานซิสเตอร์ต่าง ๆ เข้าไปที่ขาของ power supply โดยตรงจะทำให้สัญญาณรบกวนของวงจร op amp ต่ำลงอย่างมีนัยสำคัญ
\subsubsection{Total Harmonic Distortion}
การคำนวณ Total Harmonic Distortion หรือ THD สามารถทำได้โดยการนำขนาดของ amplitude ของสัญญาณที่มี Harmonic สูงขึ้นไปเป็น 2,3,4,... เท่า เปรียบเทียบกับสัญญาณที่มี Harmonic พื้นฐานที่ต้องการจากวงจร ซึ่งใช้สมการดังนี้ในการคำนวณ
\begin{equation}
THD = \frac{\sqrt{V_2^2 + V_3^2 + V_4^2 + ...}}{V_1}
\end{equation}
ในโปรแกรม LTSpice นั้น การคำนวณ Total Harmonic Distortion สามารถทำได้โดยใช้คำสั่ง \lstinline{.four} โดยสำหรับค่าเริ่มต้นในโปรแกรม จำนวน Harmonic ทั้งหมดที่โปรแกรมจะรวมให้ในการคำนวณ THD คือ 10 Harmonics
\subsubsection{แหล่งจ่ายกระแสอ้างอิง}
สำหรับแหล่งจ่ายกระแสอ้างอิง สามารถออกแบบเพื่อให้กระแสไม่เปลี่ยนแปลงไปเมื่อแรงดันจาก power supply เปลี่ยนแปลง การออกแบบดังกล่าวสามารถมีรูปแบบได้ดังรูปที่~\ref{bias_circuit}
\begin{figure}[h]
\centering
\includegraphics[width = 8cm]{bias_circuit}
\caption{แหล่งจากอ้างอิงสำหรับ CMOS op amp โดยที่ $Q_8$ เป็นทรานซิสเตอร์ตัวเดียวกันกับ $Q_8$ ในวงจรของรูปที่~\ref{opamp-twostage} (จาก Sedra and Smith, Microelectronic Circuits, 7E \cite{Sedra15})}
\label{bias_circuit}
\end{figure}
จากภาพ จะเห็นได้ว่า Q11 และ Q10 จะเป็น current mirror ให้กันและกัน นอกจากนั้น Q9 และ Q8 ต่างก็เป็น current mirror ซึ่งกันและกันเช่นกัน นั่นแสดงว่ากระแสไฟฟ้าในรางซ้ายจะถูกอ้างอิงกับกระแสไฟฟ้าในรางขวาเสมอ โดยขนาดของกระแสนั้นสามารถถูกกำหนดได้โดย Q13 และ Q12 ที่มีอัตราส่วนของ W/L ไม่เท่ากัน และมีตัวต้านทาน $R_B$ เพื่อเพิ่มข้อจำกัดของกระแสอ้างอิงนั้น
จากการคำนวณของ Sedra and Smith \cite{Sedra15} จะได้ว่าขนาดของ $R_B$ ในวงจรรูปที่~\ref{bias_circuit} สามารถออกแบบให้ได้ $I_{REF}$ ตามต้องการ โดยใช้สมการ
\begin{equation}
R_B = \frac{2}{\sqrt{2\mu_nC_{ox}(W/L)_{12}I_{REF}}}(\sqrt{\frac{(W/L)_{12}}{(W/L)_{13}}} - 1)
\label{bias_resistor}
\end{equation}
ซึ่งจะเห็นได้ว่าขนาดของ $I_{REF}$ เป็นอิสระจากแรงดันของ power supply และขนาดของ threshold voltage ของทรานซิสเตอร์ต่าง ๆ ในวงจร
\subsection{เงื่อนไขของการออกแบบวงจร}
สำหรับเงื่อนไข (specifications) ของวงจร op amp ซึ่งเป็นโจทย์ที่ทางบริษัทให้มา มีรายละเอียดดังนี้
\begin{enumerate}
\item ออกแบบวงจร two-stage op amp โดยใช้เทคโนโลยี CMOS 0.18 nm ซึ่งมีโมเดลของ BSIM3 ให้มา
\item Supply Voltage ของ op amp นี้จะมีค่าอยู่ระหว่าง 1.1 V ถึง 1.8 V (single supply)
\item วงจร op amp ดังกล่าวต้องขับโหลดซึ่งเป็นตัวเก็บประจุขนาด $C_L$ = 100 \si{\femto F}
\item การใช้พลังงานของวงจรจะต้องไม่เกิน 6 \si{\micro W}
\item DC open-loop gain $\geq$ 60 dB
\item ช่วงของสัญญาณขาออก (Output swing) $\geq$ $V_{DD}$ – 0.2 V \\(โดยที่ DC open-loop gain $\geq$ 60 dB)
\item ช่วงของสัญญาณขาเข้า (Input common-mode voltage range) $\geq$ 50\% ของช่วง ($V_{DD} - V_{SS}$) \\(โดยที่ DC open-loop gain $\geq$ 60 dB)
\item สัญญาณรบกวนอ้างอิงขาเข้ารวมของวงจร ตั้งแต่ความถี่ 1 Hz จนถึง 1 GHz เมื่อต่อวงจร op amp เป็นรูปแบบ unity-gain feedback ต้องมีค่าไม่เกิน 220 \textmu Vrms
\item 1\% settling time ของผลตอบสนองแบบ step input ขนาด 0.5 V ต้องมีค่าไม่เกิน 2 \si{\micro s} เมื่อต่อวงจร op amp เป็นรูปแบบ unity-gain feedback
\item total harmonic distortion ของสัญญาณขาออกเมื่อมีขนาดแบบขึ้นสุด ลงสุด จะต้องมีค่าไม่เกิน 0.2\%
\item เนื่องจากการผลิตวงจร IC อาจมีความเบี่ยงเบนของค่า parameters ต่าง ๆ ของทรานซิสเตอร์จำนวนมากในวงจร ดังนั้นการจำลองวงจรควรที่จะคำนึงถึงค่า parameters ของทรานซิสเตอร์ต่าง ๆ ในกรณีที่มีโอกาสเบี่ยงเบนไปมากที่สุด ซึ่งเรียกโมเดลของทรานซิสเตอร์ที่มีค่าเบี่ยงเบนของ parameters ต่าง ๆ อย่างสุดขอบว่าเป็น process corner โดยสำหรับในการออกแบบวงจร op amp นี้ ให้ทดสอบในโมเดลแบบ TT, FF และ SS (ตัวอักษร T, F, S ย่อมาจาก typical, fast และ slow ตามลำดับ โดยตัวอักษรตัวแรกแทน process corner ของ NMOS และตัวอักษรตัวที่สองแทน process corner ของ NMOS)
\item ในการจำลองวงจรในหัวข้อต่าง ๆ ให้จำลองในช่วงอุณหภูมิที่แตกต่างกันกันด้วย คือช่วงอุณหภูมิตั้งแต่ 0\degree C. ถึง 70\degree C.
\end{enumerate}
\subsection{การออกแบบวงจรตามเงื่อนไข}
\subsubsection{การจำลองเพื่อหาคุณลักษณะของโมเดล CMOS}
ก่อนที่จะเริ่มออกแบบวงจร op amp ตามเงื่อนไขของโจทย์ ควรที่จะหา characteristics โดยคร่าวของโมเดล CMOS ก่อน ซึ่งได้แก่ threshold voltage, $k_{n}'$ หรือ $k_{p}'$ และ Early voltage $|V_A'|$
สำหรับโมเดล NMOS:
\begin{itemize}
\item Threshold Voltage $|V_{tn}|$: 0.391 V
\item $k_{n}'$: 392 \si{\micro A/V^2}
\item $|V_A'|$: 20 \si{V/\micro m}
\end{itemize}
สำหรับโมเดล PMOS:
\begin{itemize}
\item Threshold Voltage $|V_{tp}|$: 0.405 V
\item $k_{p}'$: 89.0 \si{\micro A/V^2}
\item $|V_A'|$: 28 \si{V/\micro m}
\end{itemize}
สำหรับ $V_{tn}$ และ $|V_{tp}|$ ถูกคำนวณในช่วง $|V_{gs}|$ ระหว่าง 0.39 V ถึง 0.70 V และ $|V_A'|$ ถูกคำนวณในช่วง $|V_{ds}|$ ระหว่าง 0.60 V ถึง 0.70 V โดยที่ $|V_A'|$ เป็นเพียงค่าประมาณเฉลี่ยเนื่องจากค่า $|V_A'|$ มีความไม่เป็นอิสระจาก $I_D$ ที่เปลี่ยนแปลงไปอีกด้วย
\subsubsection{โครงสร้างโดยคร่าวของ Op Amp}
\begin{figure}[h]
\includegraphics[width = \linewidth]{my_op_amp}
\caption{วงจร op amp ของผู้จัดทำ}
\label{my_op_amp}
\end{figure}
\subsubsection{การจัดการพลังงาน}
เนื่องจากวงจร op amp ที่ออกแบบไม่สามารถใช้พลังงานได้เกิน 6 \si{\micro W} และเนื่องจากแรงดันจาก power supply สามารถมีค่าได้มากที่สุดคือ 1.8 V จากสมการ $P = VI$ ได้ว่ากระแสที่จ่ายมาจาก power supply จะต้องมีค่าไม่เกิน 3.3 \si{\micro A}
จากรูปที่~\ref{my_op_amp} เนื่องจากมีรางของกระแสทั้งหมด 4 ราง ดังนั้น $I_{REF}$ จึงควรมีค่าไม่เกิน $3.3/4 = 0.83$ \si{\micro A} ดังนั้น เพื่อความเผื่อเกิน จึงจะออกแบบวงจรเพื่อให้ $I_{REF}$ มีค่าเป็น 0.5 \si{\micro A}
\subsubsection{การออบแบบวงจรไบแอสกระแสอ้างอิง}
จากสมการที่~\ref{bias_resistor} เมื่อให้ $\frac{(W/L)_{12}}{(W/L)_{13}} = 4$ โดยที่ $(W/L)_{13}$ เท่ากับ 20, $I_{REF} = \num{0.5e-6}$, $k_{n}' = \num{392e-6}$ ค่าของ $R_B$ ที่คำนวณได้จะมีค่าเป็น 11.3 \si{\kilo\ohm}
ไม่ว่าอย่างไรก็ตาม ค่าของกระแส $I_{REF}$ กลับมีค่ามากกว่า 0.5 \si{\micro A} มาก เกินอะไรขึ้น?
\subsubsection{การจำลองเพื่อหาคุณลักษณะของโมเดล CMOS ตอนที่สอง}
ความผิดพลาดของการหาคุณลักษณะของโมเดล CMOS ในตอนแรกคือการหาคุณลักษณะในช่วงการทำงานที่ไม่ใช่ช่วงการทำงานที่ใช้จริง ดังนั้นจึงควรหาคุณลักษณะใหม่อีกครั้ง โดยเปลี่ยนช่วงการจำลองของ $|V_{gs}|$ เป็นช่วง 0.20 V ถึง 0.36 V สำหรับ NMOS และ 0.25 V ถึง 0.45 V สำหรับ PMOS (ซึ่งเป็นช่วงที่ค่ากระแส $I_D = \num{0.5e-6}$) ผลลัพธ์ของคุณลักษณะของโมเดล CMOS จะเปลี่ยนเป็น
สำหรับโมเดล NMOS:
\begin{itemize}
\item Threshold Voltage: 0.235 V
\item $k_{n}'$: 19.7 \si{\micro A/V^2}
\end{itemize}
สำหรับโมเดล PMOS:
\begin{itemize}
\item Threshold Voltage: 0.299 V
\item $k_{p}'$: 15.2 \si{\micro A/V^2}
\end{itemize}
เนื่องจากช่วงการทำงานที่ใช้จริง กระแส $I_D$ มีค่าต่ำมาก ๆ จนได้ว่า CMOS จะทำงานอยู่ในช่วงของ subthreshold
\subsubsection{การออบแบบวงจรไบแอสกระแสอ้างอิง ตอนที่สอง}
จากคุณลักษณะของโมเดล CMOS ที่หาได้ใหม่จากหัวข้อที่แล้ว จะได้ว่า $R_B$ ที่คำนวณได้ใหม่จะมีค่าเป็น 50.4 \si{\kilo\ohm} ไม่ว่าอย่างไรก็ตาม ค่าของ $I_{REF}$ ที่จำลองได้จริงก็ยังคงมีค่ามากกว่าที่ต้องการอยู่ การปรับละเอียด (fine-tuning) จึงยังคงจำเป็น และได้ว่าค่า $R_B$ ที่ต้องการในตอนสุดท้าย คือ 90 \si{\kilo\ohm} ซึ่งทำให้ได้กระแสงอ้างอิง $I_{REF}$ ที่มีค่าเป็น 0.657 \si{\micro A}\footnote{โดยใช้โมเดลแบบ TT CMOS และจำลองที่อุณหภูมิ 35\si{\degreeCelsius}}
ค่าของ $R_B$ ไม่ควรสูงเกินไปเนื่องจากจะทำให้พื้นที่ที่ใช้ในวงจรรวมเพิ่มขึ้น
\subsubsection{การออกแบบวงจรขยายทั้งสอง stage}
เมื่อเลือกอัตราส่วนของ $W/L$ ของ MOS ทุกตัวเป็น 20 (ยกเว้น $Q_6$ ที่จะต้องมีค่า $W/L$ เท่ากับ 40 เนื่องด้วยสมการที่~\ref{offset-eq}.) และให้ L ของ MOS ทุกตัวเป็น 0.5 \si{\micro m}
เมื่อใช้สมการที่~\ref{gain-1} และสมการที่~\ref{gain-2} แทนค่าคุณลักษณะต่าง ๆ ของ CMOS ที่เกี่ยวข้องทั้งหมดเข้าไปในสมการ จะได้ค่าของ $A_1 = A_2 = 571$ ดังนั้น DC open-loop gain ของวงจรที่ออกแบบได้ในเชิงทฤษฎีจะมีค่าเป็น $A_1A_2 = \num{8.16e4}$ = 98.2 dB
สำหรับในการจำลองวงจร ได้ว่าค่าของ DC open-loop gain จะมีค่าเพียงประมาณ 80 dB แต่ก็ยังเกินจากเงื่อนไขที่กำหนดไว้ในโจทย์
ค่าของ DC open-loop gain สามารถทำให้สูงขึ้นได้หากเพิ่มความยาว L ของ MOS แต่ crossover frequency ของผลตอบสนองเชิงความถี่จะลดลงเนื่องจาก $\omega_{P2}$ ที่ลดลง. นอกจากนั้นการลด $I_D$ จะสามารถเพิ่ม DC open-loop gain ได้ แต่ขนาดของสัญญาณรบกวนอ้างอิงขาเข้าก็จะเพิ่มขึ้นตามไป
\subsubsection{การออกแบบผลตอบสนองเชิงความถี่ของอัตราขยายแบบวงเปิด (open-loop gain) ของวงจร}
จากตำแหน่งของ dominant pole $\omega_{P1}$ ในสมการที่~\ref{pole-zero-approx} และขนาดของ DC open-loop gain ในสมการที่~\ref{gain-1} และสมการที่~\ref{gain-2} เราสามารถคำนวณหาตำแหน่งของ crossover frequency ได้เป็น
$$\omega_t = G_{m1}/C_C$$
โดยค่าของ $G_{m1}$ สามารถคำนวณได้จาก $g_{m} = \sqrt{2k_n'(W/L)I_D}$ และถ้าหากเลือกค่า $C_C$ = 0.15 pF, จะได้ว่าค่าของ crossover frequency หรือ $\omega_t$ จะมีค่าเป็น 17.1 MHz.
จากการจำลองวงจร ได้ว่า $\omega_t$ อยู่ในช่วงระหว่าง 9 ถึง 13 MHz ซึ่งยังเกินจากเงื่อนไขที่กำหนดไว้ในโจทย์
การออกแบบ crossover frequency $\omega_t$ ไม่ควรจะมีค่ามากกว่านี้อีก เนื่องจากขนาดของ phase margin จะมีค่าลดลงมากเนื่องจากตำแหน่งของขั้วที่สอง: $\omega_{P2}$.
ปัญหาที่แก้ได้ยากของการออกแบบผลตอบสนองเชิงความถี่ของอัตราขยายแบบวงเปิด เกิดจากตำแหน่งของขั้วที่สอง, $\omega_{P2}$, ซึ่งมีค่าเป็น $\omega_{P2} = G_{m2}/C_2$ เนื่องจาก $C_2$ เป็นค่าที่กำหนดมาจาก $C_L$ และความจุไฟฟ้าตามคุณลักษณะของ MOS ตัวต่าง ๆ และค่าของ $G_{m2}$ ก็สามารถเปลี่ยนได้ยากเนื่องจากการเปลี่ยนค่าดังกล่าวจะทำให้ค่าคุณลักษณะของวงจร op amp ที่ออกแบบไว้แล้วเปลี่ยนแปลงไปด้วย ดังนั้น ขั้วที่สองดังกล่างจึงดูเหมือนว่าถูกกำหนดไว้แล้วและเปลี่ยนแปลงได้ยาก ซึ่งหากเราต้องการเพิ่ม phase margin ของผลตอบสนองดังกล่าว เราจะต้องออกแบบ crossover frequency หรือ $\omega_t$ ให้ต่ำพอ โดยอาจต่ำกว่าค่าของ $\omega_{P2}$ ประมาณ 1 decade ลงไป ไม่ว่าอย่างไรก็ตามการทำเช่นนั้นจะทำให้ค่าของ crossover frequency ต่ำเกินไป
ค่าของ $\omega_{P2}$ สามารถคำนวณได้ยากเนื่องจากขึ้นอยู่กับ $C_2$ ที่ประกอบด้วยความจุไฟฟ้าตามคุณลักษณะของ MOS ตัวต่าง ๆ ดังนั้นการนำค่าจากผลการจำลองมาใช้เลยน่าจะเป็นทางเลือกที่ดีกว่า ซึ่งการประมาณค่าของ $\omega_{P2}$ (โดยใช้การลากเส้นโดยคร่าวบนรูปที่~\ref{openloopgain_freqresponse}) สามารถหาได้ว่าอยู่ที่ประมาณ 20 MHz.
การแก้ปัญหาที่เกิดจาก $\omega_{P2}$ ได้กล่าวไว้แล้วในสมการที่~\ref{new-zero} โดยการออกแบบวงจรจะต้องต่อ $R$ อนุกรมกับ $C_C$ เพื่อเปลี่ยนตำแหน่งของ zero ให้อยู่ที่ left complex plane แทน โดยหากเลือกค่าของ $\omega_{Z}$ อย่างระมัดระวัง ให้มีค่าอยู่ต่ำกว่าตำแหน่งของ $\omega_{P2}$ เล็กน้อย จทำให้ขั้ว $\omega_{P2}$ ดังกล่าวถูกยกเลิก (cancelled) ไป
โดยจากสมการ~\ref{new-zero} เมื่อเลือกค่า R = 200 \si{\kilo\ohm} จะทำให้ได้ค่าของ $\omega_{Z}$ อยู่ที่ประมาณ 6.2 MHz ซึ่งตรงกับผลการจำลองของวงจรในโปรแกรม
Phase margin ของ open-loop gain จากการคำนวณควรจะมีค่าน้อยกว่า 90 องศาเล็กน้อย เนื่องจากขั้วแรกและขั้วที่สองที่อยู่ใกล้กับ crossover frequency
\subsubsection{Slew Rate}
จากเงื่อนไขของการออกแบบในโจทย์ ค่าของสัญญาณขาออกจะต้องตาม 0.5-V step input ในเวลาไม่เกิน 2 \si{\micro s} ดังนั้น slew rate ของสัญญาณขาออกจะต้องมีค่าไม่ต่ำกว่า $0.5/\num{2e-6} = \num{2.5e5}$ V/s.
จากสมการที่~\ref{slew-eq} การคำนวณ slew rate ได้ค่าออกมาเป็น \num{2.19e6} V/s ซึ่งมีค่ามากกว่าที่โจทย์ได้กำหนดเอาไว้มาก
\subsubsection{การออกแบบเพื่อลดสัญญาณรบกวน}
เนื่องจากการคำนวณสัญญาณรบกวนของวงจรค่อนข้างมีความซับซ้อนมาก การจำลองวงจรน่าจะทำให้การออกแบบเป็นไปได้ง่ายกว่า
การลดสัญญาณรบกวนของวงจรมีวิธีทั่วไปสองแบบ คือการเพิ่มอัตราส่วน W/L ของทรานซิสเตอร์ที่เกี่ยวข้องกับการขยายสัญญาณ และการต่อ body ของทรานซิสเตอร์เข้าไปที่แหล่ง power supply โดยตรง
\subsubsection{ช่วงของสัญญาณขาเข้า (Input Common-Mode Range) และสัญญาณขาออก (Output Swing)}
ขนาดของ overdrive voltage ของแต่ละทรานซิสเตอร์สามารถคำนวณได้จาก
$$\frac{1}{2}k_n'(W/L)V_{ov}^2 = I_D$$
จากสมการดังกล่าวจะได้ว่า $|V_{ov6}| = |V_{ov3}| = 0.041 \si{V}$, $|V_{ov5}| = |V_{ov7}| = 0.066 \si{V}$, and $|V_{ov1}| = 0.046 \si{V}$.
โดยเมื่อพิจารณาร่วมกับข้อมูล $|V_{tn}|$ และ $|V_{tp}|$ และจากสมการที่~\ref{input-range} จะได้ว่า
\begin{itemize}
\item ช่วงของสัญญาณขาเข้า (input common-mode range) คือตั้งแต่ -0.023 V ถึง $v_{DD}$ - 0.411 V
\item ช่วงของสัญญาณขาออก (output swing) คือตั้งแต่ 0.041 V ถึง $v_{DD}$ - 0.066 V
\end{itemize}
ยิ่งช่วงของสัญญาณขาออก (output swing) มีความกว้างมากขึ้นเท่าไหร่ ขนาดของ total-harmonic-distortion (THD) ของสัญญาณขาออกก็จะยิ่งลดลงเท่านั้น
\subsection{การจำลองวงจรและผลการทดลอง}
\label{result-1}
\subsubsection{ผลตอบสนองเชิงความถี่ของอัตราขยายแบบวงเปิด: DC Gain, Crossover Frequency และ Phase Margin}
\begin{figure}
\centering
\includegraphics[width = 10cm]{measure-openloopgain}
\caption{วงจรเพื่อจำลองผลตอบสนองเชิงความถี่ของอัตราขยายแบบวงเปิด}
\label{measure-openloopgain}
\end{figure}
\paragraph{สำหรับการจำลองของตอนนี้จะมีทั้งหมด 171 การทดลอง ดังนี้}
\begin{itemize}
\item ทดสอบบน 3 process corners (FF, TT, SS).
\item แต่ละ process corner ใช้แรงดันของแหล่งจ่ายเป็น 1.1 V และ 1.8 V
\item กรณีที่เป็น 1.1 V:
\begin{itemize}
\item เปลี่ยนค่าของแรงดันขาเข้า: 0.1, 0.3, 0.5, 0.7, 0.9 V
\item เปลี่ยนค่าของแรงดันขาออก: 0.1, 0.55, 1.0 V
\end{itemize}
\item กรณีที่เป็น 1.8 V:
\begin{itemize}
\item เปลี่ยนค่าของแรงดันขาเข้า: 0.1, 0.4, 0.7, 1.0, 1.3, 1.6 V
\item เปลี่ยนค่าของแรงดันขาออก: 0.1, 0.5, 0.9, 1.3, 1.7 V
\end{itemize}
\item แต่ละการทดลอง ทำที่อุณหภูมิ 0, 35, 70 \si{\degreeCelsius}.
\end{itemize}
\paragraph{ผลการทดลองแบบสรุป}
\begin{itemize}
\item ค่าของ DC gain $\geq$ 60 dB สำหรับทั้ง 171 การทดลอง
\item ค่าของ Phase Margin $\geq$ 60 degrees สำหรับทั้ง 171 การทดลอง
\item ค่าของ Crossover frequency $\geq$ 7 MHz สำหรับทั้ง 171 การทดลอง \textbf{ยกเว้น}ในการทดลองต่อไปนี้
\begin{itemize}
\item $V_{in}$ = 1.6 V เมื่อ $V_{supply}$ = 1.8 V.
\item $V_{in}$ = 0.7 V และ 0.9 V เมื่อ $V_{supply}$ = 1.1 V.
\end{itemize}
\end{itemize}
\subsubsection{การใช้พลังงาน}
\begin{figure}[h]
\centering
\includegraphics[width = 10cm]{measure-power}
\caption{วงจรเพื่อทดสอบการใช้พลังงานของ op amp}
\label{measure-power}
\end{figure}
การวัดการใช้พลังงานของวงจร op amp อย่างง่ายที่สุดคือการวัดค่าแรงดันและกระแสของแหล่งจ่ายไฟ แล้วนำมาคำนวณต่อเป็นกำลังไฟฟ้าอีกทีหนึ่ง
\paragraph{สำหรับการจำลองของตอนนี้จะมีทั้งหมด 18 การทดลอง ดังนี้}
\begin{itemize}
\item ทดสอบบน 3 process corners (FF, TT, SS).
\item แต่ละ process corner ใช้แรงดันของแหล่งจ่ายเป็น 1.1 V และ 1.8 V
\item แต่ละการทดลอง ทำที่อุณหภูมิ 0, 35, 70 \si{\degreeCelsius}.
\end{itemize}
\paragraph{ผลการทดลองแบบสรุป}
\begin{itemize}
\item สำหรับ power supply ค่าแรงดัน 1.8 V, \\ได้ว่า การใช้กำลังไฟฟ้าอยู่ในช่วง 4.11 ถึง 5.06 \si{\micro W}
\item สำหรับ power supply ค่าแรงดัน 1.1 V, \\ได้ว่า การใช้กำลังไฟฟ้าอยู่ในช่วง 1.74 ถึง 2.22 \si{\micro W}
\end{itemize}
\subsubsection{การทดสอบสัญญาณรบกวน}
\begin{figure}[h]
\centering
\includegraphics[width = 10cm]{measure-noise}
\caption{วงจรที่ใช้สำหรับวัดค่าสัญญาณรบกวนอ้างอิงขาเข้า ซึ่งวัดจาก $V_{out}$.}
\label{measure-noise}
\end{figure}
\paragraph{สำหรับการจำลองของตอนนี้จะมีทั้งหมด 18 การทดลอง ดังนี้}
\begin{itemize}
\item ทดสอบบน 3 process corners (FF, TT, SS).
\item แต่ละ process corner ใช้แรงดันของแหล่งจ่ายเป็น 1.1 V และ 1.8 V
\item แต่ละการทดลอง ทำที่อุณหภูมิ 0, 35, 70 \si{\degreeCelsius}.
\end{itemize}
\paragraph{ผลการทดลองแบบสรุป}
ขนาดของสัญญาณรบกวนอ้างอิงขาเข้ารวมแบบ root-mean square รวมตั้งแต่ความที่ 1 Hz ถึง 1 GHz ในทุกการทดลอง มีค่าอยู่ในช่วง 120 to 180 \textmu Vrms.
\subsubsection{การทดสอบ Settling Time}
\begin{figure}[h]
\centering
\includegraphics[width = 10cm]{measure-settlingtime}
\caption{วงจรที่ใช้สำหรับวัด Settling Time}
\label{measure-settlingtime}
\end{figure}
\paragraph{สำหรับการจำลองของตอนนี้จะมีทั้งหมด 18 การทดลอง ดังนี้}
\begin{itemize}
\item ทดสอบบน 3 process corners (FF, TT, SS).
\item แต่ละ process corner ใช้แรงดันของแหล่งจ่ายเป็น 1.1 V และ 1.8 V
\item แต่ละการทดลอง ทำที่อุณหภูมิ 0, 35, 70 \si{\degreeCelsius}.
\end{itemize}
\paragraph{ผลการทดลองแบบสรุป}
ช่วงของ 1\% settling time ในทุกการทดลองอยู่ระหว่าง 0.35 ถึง 0.57 \si{\micro s}
\subsubsection{การทดสอบ Total Harmonic Distortion}
\begin{figure}[h]
\centering
\includegraphics[width = 10cm]{measure-thd}
\caption{วงจรที่ใช้สำหรับทดสอบ Settling Time}
\label{measure-thd}
\end{figure}
THD วัดโดยใช้ output swing แบบ sine wave ที่ขึ้นสุดลงสุดในช่วง $V_{DD}$ - 0.2 V.
\paragraph{สำหรับการจำลองของตอนนี้จะมีทั้งหมด 18 การทดลอง ดังนี้}
\begin{itemize}
\item ทดสอบบน 3 process corners (FF, TT, SS).
\item แต่ละ process corner ใช้แรงดันของแหล่งจ่ายเป็น 1.1 V และ 1.8 V
\item แต่ละการทดลอง ทำที่อุณหภูมิ 0, 35, 70 \si{\degreeCelsius}.
\end{itemize}
\paragraph{ผลการทดลองแบบสรุป}
ช่วงของ 1\% settling time ในทุกการทดลองอยู่ระหว่าง 0.35 ถึง 0.57 \si{\micro s}
\subsubsection{การเขียนโค้ดเพื่อให้สามารถรันการทดลองบน LTSpice แบบอัตโนมัติ}
\begin{itemize}
\item ใช้ LTSpice ในการจำลองพฤติกรรมของวงจรไฟฟ้า
\item การรันอัตโนมัติสั่งผ่านโค้ดของ Python
\item ใช้ PyLTSpice Python library จาก Nuno Brum ซึ่งสามารถรันไฟล์ของ LTSpice ได้โดยตรง, สามารถเปลี่ยนค่าขององค์ประกอบในวงจร, อ่านไฟล์ \lstinline{.raw} ซึ่งมีผลของการจำลองวงจรได้จากโค้ดของ Python โดยตรง \cite{Brum22}
\end{itemize}
\subsection{การพัฒนาวงจรที่ออกแบบ}
เนื่องจากในวงจร op amp ที่ออกแบบในรูปที่~\ref{my_op_amp} ยังมีตัวต้านทานขนาดใหญ่ถึงสองตัว ซึ่งอาจจะทำให้วงจรกินพื้นที่ของ IC ค่อนข้างมาก จึงสามารถพัฒนาต่อได้อีก ดังนี้
\subsubsection{การแทนที่ตัวต้านทานที่ต่ออนุกรมกับ $C_C$ ด้วย transmission gate}
\begin{figure}[h]
\centering
\includegraphics[width = \linewidth]{opamp-improve-1}
\caption{การแทนที่ตัวต้านทานที่ต่ออนุกรมกับ $C_C$ ด้วย transmission gate}
\label{opamp-improve-1}
\end{figure}
เนื่องจาก MOSFET สามารถทำหน้าที่เป็นตัวต้านทานได้เช่นกัน โดยการไบแอสแรงดันที่ขา gate ของทรานซิสเตอร์เพื่อให้ได้ช่วงในการทำงานอยู่ในช่วง triode region โดยเราสามารถไบแอสแรงดันได้โดยใช้วงจรสร้างกระแสที่ได้สร้างไว้แล้ว และเนื่องจากวงจรสร้างกระแสดังกล่าวสามารถให้แรงดันที่ค่อนข้างคงที่ ดังนั้นจึงได้ว่าแรงดันดังกล่าวมีความเหมาะสมที่จะใช้ในการไบแอสแรงดันที่ขา gate นั้น
สำหรับในรูปที่~\ref{opamp-improve-1} ตัว MOSFET ที่ทำหน้าที่ในการเป็นตัวต้านทานคือ Q14 และ Q15 โดยเหตุผลที่ใช้ทั้ง PMOS และ NMOS พร้อมกันเนื่องจากเพื่อทำให้การทำงานของ resistor นั้นกว้างขึ้น กล่าวคือ ไม่ถูก cutoff พร้อมกันทั้งสองทรานซิสเตอร์ \cite{Nath17}
สำหรับสมการของความต้านทานที่สร้างจาก PMOS และ NMOS ดังกล่าว สามารถเขียนได้ดังนี้ \cite{Nath17}
$$R = (\mu_n C_{ox} (W/L)_n (V_{GS}-V_{tn}) + \mu_p C_{ox} (W/L)_p (V_{SG}-|V_{tp}|))^{-1}$$
เราสามารถปรับอัตราส่วนของ $W/L$ ของทรานซิสเตอร์ Q14 และ Q15 แบบ fine-tuning จนกระทั่งได้ผลตอบสนองเชิงความถี่ของอัตราขยายวงเปิดที่ใกล้เคียงกับแบบเดิม
สำหรับผลการทดลองที่ได้จากการจำลองวงจรในรูปที่~\ref{opamp-improve-1} เหมือนกับที่ได้จากวงจรในรูปที่~\ref{my_op_amp} ในทุกการทดลองที่ทำในหัวข้อที่~\ref{result-1}
\subsubsection{การเปลี่ยนวงจรสร้างกระแสอ้างอิงเพื่อให้มีขนาดของตัวต้านทานที่ลดลง}
\begin{figure}[h]
\centering
\includegraphics[width = \linewidth]{opamp-improve-2}
\caption{การเปลี่ยนวงจรสร้างกระแสอ้างอิงเพื่อให้มีขนาดของตัวต้านทานที่ลดลง}
\label{opamp-improve-2}
\end{figure}
ในวงจรเดิม (จากรูปที่~\ref{my_op_amp}) การไบแอสกระแสที่มีค่าต่ำมาก (ประมาณ 0.5 \si{\micro A}) จำเป็นต้องใช้ตัวต้านทานที่ค่าใหญ่ การแก้ปัญหาเบื้องต้นคือการแทนที่ตัวต้านทานนั้นด้วย diode-connected MOSFET ไม่ว่าอย่างไรก็ตาม การทำเช่นนั้นจะทำให้กระแสอ้างอิงถูกรบกวนอย่างมากด้วย PVT variation หรือความเบี่ยงเบนจากค่าปกติที่อาจเกิดขึ้นกับกระบวนการผลิต, แรงดันจากแหล่งจ่าย และอุณหภูมิของวงจร เนื่องจากความต้านทานของ diode-connected MOSFET ขึ้นอยู่กับการเปลี่ยนแปลงดังกล่าวอย่างมาก
\begin{figure}[h]
\centering
\includegraphics[width = 5cm]{threshold-ref}
\caption{วงจรสร้างกระแสอ้างอิงแบบ threshold voltage reference}
\label{threshold-ref}
\end{figure}
การแก้ปัญหาต่อมา คือการเปลี่ยนรูปแบบของวงจรอ้างอิงกระแสให้เป็นแบบ threshold voltage reference แทน ซึ่งได้แสดงในรูปที่~\ref{threshold-ref} \cite{Grey09} เพื่อให้กระแสอ้างอิงเป็นอิสระจากแรงดันจากแหล่งจ่ายและอุณหภูมิของวงจร จากรูปดังกล่าว เมื่อเปรียบเทียบกับรูปที่~\ref{opamp-improve-2} นั่นคือ ทรานซิสเตอร์ T1 และ T2 คือทรานซิสเตอร์ M10 และ M11 ตามลำดับ
และตัวต้านทาน R2 ในรูปที่~\ref{threshold-ref} ก็คือแทนที่เป็นตัวต้านทาน R1 ต่ออนุกรมกับ diode-connected MOSFET ที่ใช้ M12 ในรูปที่~\ref{opamp-improve-2}
นอกจากนั้น ตัวสร้างกระแสขาเข้า $I_{IN}$ ในรูปที่~\ref{threshold-ref} สามารถสร้างแทนได้ด้วย current mirror ซึ่งใช้ทรานซิสเตอร์ M8 และ M9 ในรูปที่~\ref{opamp-improve-2} เพื่อให้กระแสของทั้งสองรางถูกผูกไว้อีกทีหนึ่ง
สมการความสัมพันธ์ระหว่าง $I_{IN}$ และ $I_{OUT}$ ของรูปที่~\ref{threshold-ref} สามารถเขียนได้ดังนี้ \cite{Grey09}
$$I_{OUT} = \frac{V_t + \sqrt{\frac{2I_{IN}}{k'(W/L)_1}}}{R_2}$$
ไม่ว่าอย่างไรก็ตาม การออกแบบวงจรในรูปที่~\ref{opamp-improve-2} ก็ยังมีประสิทธิภาพที่แย่ว่า~\ref{my_op_amp} ซึ่งไม่คุ้มค่ากับการแลกมาของพื้นทีของวงจรที่ใช้บน IC ที่น้อยลง
\chapter{สรุป}
\section{ปัญหา อุปสรรค และข้อเสนอแนะ}
เนื่องจากการทำ Analog Design จำเป็นต้องใช้ความรู้ทางด้านอิเล็กทรอนิกส์อีกมาก ดังนั้นจึงจะต้องอ่านหนังสือเพิ่อค้นคว้าด้วยตัวเอง ซึ่งหนังสือที่แนะนำ เช่น ของ Sedra และ Smith \cite{Sedra15} และจะมีเนื้อหาที่ค่อนข้างลึกบางส่วนที่ในหนังสือ Sedra และ Smith ไม่ได้พูดถึงอีกมาก เช่น สัญญาณรบกวน (Noise) และการออกแบบวงจรสร้างกระแสอ้างอิงที่มีคุณสมบติเพิ่มเติม ฯลฯ ซึ่งแนะนำให้อ่านต่อไปในหนังสือของ Gray \cite{Grey09} และหนังสือการออกแบบวงจร CMOS ของ Razavi \cite{Razavi17}
\backmatter
\chapter*{ภาคผนวก}
ผลการทดลองทั้งหมด: \href{https://mega.nz/folder/Sywj2IDA#qnUAwmZCUlo6esYIEv0eHQ}{คลิกที่นี่}
วงจรและโค้ดทั้งหมดที่ใช้ในการจำลองวงจร: \href{https://github.com/nutchanonj/LTSpice_with_Python}{คลิกที่นี่}
\section*{Code สำหรับการวัดค่าที่เกี่ยวกับผลตอบสนองเชิงความถี่ของอัตราขยายแบบวงเปิด ได้แก่ DC Gain, Crossover Frequency และ Phase Margin}
\begin{singlespace}
\lstinputlisting[language=Python]{codes/1_AC_Sweep.py}
\end{singlespace}
\section*{Code สำหรับการวัดการใช้พลังงานของวงจร}
\begin{singlespace}
\lstinputlisting[language=Python]{codes/2_Power.py}
\end{singlespace}
\section*{Code สำหรับการทดสอบสัญญาณรบกวนของวงจร}
\begin{singlespace}
\lstinputlisting[language=Python]{codes/3_Noise.py}
\end{singlespace}
\section*{Code สำหรับการทดสอบ Settling Time}
\begin{singlespace}
\lstinputlisting[language=Python]{codes/4_Settling_Time.py}
\end{singlespace}
\section*{Code สำหรับการทดสอบ Total Harmonic Distortion}
\begin{singlespace}
\lstinputlisting[language=Python]{codes/5_Fourier.py}
\end{singlespace}
\bibliographystyle{plain}
\bibliography{reference}
\end{document}